พิมพ์หน้านี้ - ประโยชน์ของการเลิกบุหรี่

นานาสาระ => นานาสาระ => ข้อความที่เริ่มโดย: pitak1 ที่ พฤษภาคม 30, 2009, 09:38:20 pm



หัวข้อ: ประโยชน์ของการเลิกบุหรี่
เริ่มหัวข้อโดย: pitak1 ที่ พฤษภาคม 30, 2009, 09:38:20 pm
ประโยชน์ทันตาเห็นสุขภาพดีขึ้น หายใจโล่งขึ้น โดยเฉพาะเมื่อต้องออกแรง
ลมหายใจจะสดชื่นขึ้น ไม่มีกลิ่นเหม็นของลมหายใจ นิ้วมือจะหายเหลืองและฟันจะไม่ดำอีกต่อไป
จะมีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายอีกสัปดาห์ละ 200-300 บาท
ไม่ต้องกังวลว่ากำลังพยายามฆ่าตัวตายผ่อนส่ง
คนที่รักและเป็นห่วงคุณดีใจที่คุณเลิกสูบบุหรี่ได้
ประโยชน์ในอนาคต

สุขภาพดีขึ้น
หายจากอาการไอเรื้อรังเพราะบุหรี่
เป็นหวัด หรือโรคติดเชื้อทางเดินหายใจอื่นๆ น้อยลง
มีอายุยืนยาวขึ้น
ประโยชน์ที่ครอบครัวและผู้ใกล้ชิดจะได้รับเมื่อเลิกสูบบุหรี่

สึกหห
เป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ลูกหลาน ลดโอกาสที่ลูกหลานของคุณ จะกบลายเป็นผู้สูบบุหรี่ในอนาคต
พวกเขาจะได้รับอากาศบริสุทธิ์มากขึ้น
พวกเขาจะรู้สึกว่าคุณน่าใกล้ชิดมากขึ้น  ภูมิใจในตัวคุณที่เลิกสูบบุหรี่ได้
เด็กๆ ที่อาศัยอยู่ในบ้านที่ไม่มีควันบุหรี่จะป่วยเป็นไข้หวัด  หลอกลมอักเสบ หูน้ำหนวก  โรคหืด และโรคทางเดินหายใจอื่นๆน้อยลง
ครอบครัวมีความสุขไม่ต้องกังวลว่าจะเกิดโรคจากควันบุหรี่

ผลดีของการเลิกบุหรี่..ถ้าผู้สูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่กอ่นอวัยวะต่างๆในร่างกายจะได้รับความเสียหายอย่างถาวร จะทำให้ร่างกายชอ่มแชมสว่นที่สึกหรอไปแล้วให้กลับคืนสู่สภาพกติ..หรือเกือบปกติ1. การหยุดสูบบุหรี่จะช่วยลดอาการไอ ลดจำนวนเสมหะ ลดการหายใจมีเสียง
วี๊ด และลดการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ เช่นหลอดลมอักเสบ และ
ปอดบวม เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ยังคงสูบบุหรี่ต่อไป
2. ในผู้ทียังไม่เกิดอาการของดรคถุงลมโป่งพอง การหยุดสูบบุหรี่จะทำให้
สมรรถภาพของปอดดีขึ้นร้อยละ 5 ภายใน 2-3 เดือนหลังจากเลิกสูบบุหรี่
3. ผู้ที่หยุดสูบบุหรี่อย่างถาวร อัตราการเสื่อมของปอดจะชลอตัวลง จนเท่ากับ
ความเสื่อมที่เกิดในผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่
4. ในผู้ที่หยุดสูบบุหรี่ได้อย่างถาวร อัตราการเสียชีวิตจากโรคถุงลมโป่งพอง
จะลดลง เมื่อเทียบกับผู้ที่ยังคงสูบบุหรี่ต่อไป
1. การหยุดสูบบุหรี่จะช่วยลดอาการไอ ลดจำนวนเสมหะ ลดการหายใจมีเสียง
วี๊ด และลดการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ เช่นหลอดลมอักเสบ และ
ปอดบวม เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่ยังคงสูบบุหรี่ต่อไป
2. ในผู้ทียังไม่เกิดอาการของดรคถุงลมโป่งพอง การหยุดสูบบุหรี่จะทำให้
สมรรถภาพของปอดดีขึ้นร้อยละ 5 ภายใน 2-3 เดือนหลังจากเลิกสูบบุหรี่
3. ผู้ที่หยุดสูบบุหรี่อย่างถาวร อัตราการเสื่อมของปอดจะชลอตัวลง จนเท่ากับ
ความเสื่อมที่เกิดในผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่
4. ในผู้ที่หยุดสูบบุหรี่ได้อย่างถาวร อัตราการเสียชีวิตจากโรคถุงลมโป่งพอง
จะลดลง เมื่อเทียบกับผู้ที่ยังคงสูบบุหรี่ต่อไป