เกี่ยวกับวงจร LDR เป็นความเข้มของแสง ครับ
LSVคลังสมองออนไลน์ "ปีที่21"
มีนาคม 19, 2024, 03:41:15 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เกี่ยวกับวงจร LDR เป็นความเข้มของแสง ครับ  (อ่าน 14561 ครั้ง)
output
บุคคลทั่วไป
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2007, 06:03:35 PM »

คือ ผมมี LDR ครับ อยากจะทำเซ็นเซอร์แสงครับ
คืออีกด้านหนึ่งเป็น LED ครับ อีก ฝั่งหนึ่งเป็น LDR ครับ
ผมอยากจะเอา Output ไปใช้งานครับ ไม่ทราบว่าจะต่อวงจรอย่างไรดีครับ ให้มีไฟเมื่อมีแสงมากระทบ ใช้ไฟ +5V ครับ

ขอบคุณทุกคำแนะนำล่วงหน้าครับ Cheesy


บันทึกการเข้า

BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2007, 06:07:25 PM »

 Grin Grin Grin

หลักการใช้ LDR ในวงจรปิดเปิดสวิตซ์
บันทึกการเข้า
BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2007, 06:08:37 PM »

 Grin Grin Grin Grin

วงจรสมบูรณ์........................ Lips Sealed Tongue

วงจรควบคุมสวิตซ์โดยรีเลย์จะทำงานเมื่อไม่มีแสงสว่าง
บันทึกการเข้า
BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2007, 06:15:26 PM »

แถมอีกอันแล้วกันครับ................................. Tongue

วงจรเตือนภัยเป็นเสียงเมื่อมีแสงสว่างกระทบ LDR

เป็น ตัวอย่างวงจรอีกอันหนึ่งทำงานเมื่อมีแสงสว่าง ตัวอย่างอื่นๆ ก็ได้แก่ วงจรจับควันไฟ , วงจรกะพริบ เพื่อความปลอดภัยเมื่อมีรถยนต์แล่นผ่านมา. ซึ่งโดยหลักการแล้วไม่ยาก คงจะนำไปดัดแปลงใช้กันได้
บันทึกการเข้า
output
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #4 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2007, 06:23:13 PM »

รูป ก. ตรง Output  ต้องการ ลอจิก "1"   ใช่ป่ะครับ

ไม่ทราบว่าวงจรนี้ Work หรือเปล่าครับ
ผมต้องการ แค่มีแสง มากระทบแล้ว ตรง Out มีไฟออกประมาณ 2-4 โวลต์ ก็พอครับ
ปล. ระดับลอจิก "1" แรงดันตั้งแต่ 1.4 โวลต์ ครับ
บันทึกการเข้า
BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #5 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2007, 06:27:18 PM »

รูป ก.   จะทำงานดังนี้ คือ ถ้ามีแสงสว่าง LDR จะมีความต้านทานต่ำ ทำให้แรงดันส่วนใหญ่มาตกคร่อม R 1 เสียหมด แรงดันเอาต์พุต จึงสูงเกือบเท่า แรงดันไฟเลี้ยง และ ถ้าไม่มี แสง LDR จะมีความต้านทานสูง แรงดันส่วนใหญ่จะ ไปตกที่ LDR แรงดันเอาต์พุต จึงเกือบเป็น 0 โวลต์

รูปที่ ข. วงจรจะทำงาน ในทางตรงข้าม เพียงแต่สลับที่ระหว่าง LDR กับ R 1 เวลามีแสงสว่าง เอาต์พุตก็จะเกือบ เป็น 0 โวลต์ เวลาไม่มีแสงสว่างเอาต์พุตก็เกือบเท่าแรงดันไฟเลี้ยงจะเห็นได้ว่ากลับกับกรณีแรก
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!